สาระควรรู้ทั่วไป

หลังคา เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ต้องใส่ใจกับมันมากทีเดียวค่ะ หลังคาช่วยในการปกป้องเราและตัวบ้านของเราจากแดด ลม ฝน ซึ่งหลังคาดีก็มีชัยไปกว่าครึ่ง เพราะนอกจากหลังคาจะมีคุณประโยชน์ในด้านการใช้งานแล้ว การเลือกรูปแบบของหลังคาที่เหมาะสมกับตัวบ้าน ก็จะทำให้บ้านดูดีมาแต่ไกลเลยละค่ะ ซึ่งนั่นเป็นหน้าที่ของสถาปนิกที่จะช่วยคุณตัดสินใจเลือกรูปแบบของมัน แต่วันนี้เรามีพื้นฐานของประเภทหลังคาแบบต่างๆมาให้คุณผู้อ่าน เพื่อจะได้สื่อสารกับสถาปนิกและผู้รับเหมาได้ง่ายขึ้นว่าคุณต้องการอะไรค่ะ

ประกาศอสังหาริมทรัพย์ใหม่ บ้าน บ้าน รายการล่าสุด บ้านเดี่ยว บ้านเดี่ยว รายการล่าสุด ทาวน์เฮ้าส์ ทาวน์เฮ้าส์ รายการล่าสุด ทาวน์โฮม ทาวน์โฮม รายการล่าสุด คอนโด คอนโด รายการล่าสุด อาคารพาณิชย์ อาคารพาณิชย์ รายการล่าสุด อพาร์ทเม้นท์ อพาร์ทเม้นท์ รายการล่าสุด สำนักงาน สำนักงาน รายการล่าสุด โฮมออฟฟิศ โฮมออฟฟิศ รายการล่าสุด ธุรกิจ ธุรกิจ รายการล่าสุด โรงงาน โรงงาน รายการล่าสุด คลังสินค้า คลังสินค้า รายการล่าสุด โกดัง โกดัง รายการล่าสุด ที่ดิน ที่ดิน รายการล่าสุด ลงประกาศฟรี ผู้รับเหมา รายการล่าสุด ผู้รับเหมา ลงประกาศฟรี ผู้รับเหมา ข่าวประชาสัมพันธ์ รายการล่าสุด ข่าวประชาสัมพันธ์ พรีวิวโครงการใหม่ รายการล่าสุด พรีวิวโครงการใหม่ ตกแต่งที่อยู่อาศัย รายการล่าสุด ตกแต่งที่อยู่อาศัย สาระควรรู้ ที่อยู่อาศัย รายการล่าสุด สาระควรรู้ ที่อยู่อาศัย ฮวงจุ้ย ที่อยู่อาศัย รายการล่าสุด ฮวงจุ้ย ที่อยู่อาศัย สินเชื่อ ที่อยู่อาศัย รายการล่าสุด สินเชื่อ ที่อยู่อาศัย SME รายการล่าสุด SME สถานที่ท่องเที่ยว รายการล่าสุด สถานที่ท่องเที่ยว

รูปทรงหลังคาประเภทต่างๆ เรื่องควรรู้ก่อนเริ่มสร้างบ้าน เลือกแบบไหนให้เหมาะสมกับตัวบ้าน

 จัด Garage Sale

         ในต่างประเทศมีการจัดการาจเซลขึ้นเมื่อต้องการหาพื้นที่โละของใช้ภายในบ้าน ซึ่งมักจะใช้โรงรถที่บ้านเปิดขายของ ในบ้านเราก็เริ่มมีการจัดงานลักษณะนี้เช่นเดียวกัน แต่เป็นการรวมกลุ่มเพื่อนๆ มาเปิดท้ายขายของกันตามลานสาธารณะ โดยขายของหลายอย่าง ทั้งเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่ง ของใช้ในบ้าน ไปถึงเสื้อผ้า เป็นเสมือนการส่งต่อและแลกเปลี่ยนของใช้ให้คนที่มีความต้องการและความชอบคล้ายๆ กัน และยังเป็นการสร้างมิตรภาพใหม่ๆ อีกด้วย

 

 ประกาศขายตามเว็บไซต์

         ปัจจุบันการเข้าถึงเทคโนโลยีมีความสะดวกและกว้างขวาง การประกาศขายของตามเว็บไซต์แลกเปลี่ยนสินค้าจึงเกิดขึ้นมากมาย พื้นที่ทางอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางที่ดีและกว้างขวางในการส่งต่อ แลกเปลี่ยนข้าวของเครื่องใช้ รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ชิ้นใหญ่ เพียงแค่ถ่ายภาพลงในหน้าเว็บ และติดต่อนัดหมายซื้อขายกันโดยง่าย บางทีอาจใช้เวลานานกว่าจะมีคนมาซื้อของเรา แต่ก็ได้ราคาตามที่เราตั้งไว้

 1. หลังคาแบน (FLAT SLAB)

                     มีลักษณะแบนราบคล้ายกับเป็นพื้นจึงมักถูกใช้เป็นพื้นดาดฟ้า แต่เนื่องจากรับความร้อนมากและกันแดดกันฝนไม่ค่อยได้ จึงไม่ใคร่เหมาะกับบ้านเราสักเท่าไร แต่ที่เห็นนำมาใช้กันได้ก็เห็นจะเป็นอาคารตึกแถวหรืออาคารพานิชย์สูงหลายชั้น และอาคารที่ไม่เน้นความสวยงามของรูปทรงหลังคา การก่อสร้างหลังคาประเภทนี้คล้ายๆกับการก่อสร้างพื้น แต่มีข้อควรทำคือควรจะผสมน้ำยากันซึมหรือควรมีวัสดุกันซึมปูทับอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งทำให้บนพื้นที่หลังคาประเภทนี้ขึ้นไปใช้ประโยชน์ได้

 2. หลังคาเพิงหมาแหงน (LEAN TO)
 
                  เป็นหลังคาที่ยกให้อีกด้านสูงกว่าอีกด้านหนึ่ง เพื่อให้สามารถระบายน้ำฝนได้ เหมาะสมสำหรับบ้านขนาดเล็ก เนื่องจากก่อสร้างง่าย รวดเร็ว ราคาประหยัด แต่แฟนคนรักบ้านต้องระวังควรให้หลังคามีองศาความลาดเอียงมากพอ ที่จะระบายน้ำฝนออกได้ทันไม่ไหลย้อนซึมกลับเข้ามาได้ โดยอาจพิจารณาร่วมกับปัจจัยอื่น เช่น ความชันจากขนาดของหลังคา วัสดุมุงหลังคา และระยะซ้อนของหลังคา เป็นต้น ในกรณีที่มีโอกาสหรือความเสี่ยงที่น้ำฝนจะไหลย้อนซึมเข้ามาได้ ก็ควรใช้ความลาดชันมากขึ้นตามลำดับ เพื่อให้สามารถระบายน้ำฝนได้รวดเร็วขึ้น 

 3. หลังคาแบบผีเสื้อ (BUTTERFLY)

                   หลังคาชนิดนี้ประกอบด้วยหลังคาเพิงหมาแหงน หลังหันด้านที่ต่ำกว่ามาชนกัน ไม่ค่อยเหมาะกับสภาพภูมิอากาศที่ฝนตกชุกแบบเมืองไทยสักเท่าไร เนื่องจากต้องมีรางน้ำที่รองรับน้ำฝนจากหลังคาทั้ง ด้าน ทำให้รางน้ำมีโอกาศรั่วซึมได้สูง จึงไม่เป็นที่นิยมสร้างกันมากนัก ยกเว้นอาคารที่ต้องการลักษณะเฉพาะพิเศษที่แปลกตาออกไป 

 4. หลังคาทรงหน้าจั่ว (GABLE ROOF)
 
                     เป็นหลังคาที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศร้อนชื้นแบบเมืองไทยเรา มีลักษณะเป็นหลังคาเพิงหมาแหงน 2 หลังมาชนกัน มีสันสูงตรงกลาง เป็นหลังคาที่มีความสะดวกในการก่อสร้าง สามารถกันแดดกันฝนได้ดี และสามารถระบายความร้อนใต้หลังคาได้ดีอีกด้วย 
 
 
 
หลังคาทรงปั้นหยา (HIP ROOF)
 5. หลังคาทรงปั้นหยา (HIP ROOF)
 
                   เป็นหลังคาที่กันแดดกันฝนได้ดีทุกๆด้าน มีความโอ่อ่าสง่างาม แต่หลังคาชนิดนี้มีราคาแพง เนื่องจากเปลืองวัสดุมากกว่าหลังคาชนิดอื่นๆ ตลอดจนต้องใช้ช่างที่มีฝีมือพอสมควรในการก่อสร้าง เพราะมีรายละเอียดเยอะกว่าหลังคาชนิดอื่นๆ 
 
 
 
หลังคาแบบร่วมสมัย (MODERN & CONTEMPORARY)
 6. หลังคาแบบร่วมสมัย (MODERN & CONTEMPORARY) 
 
                เป็นหลังคาที่มีรูปทรงทันสมัย แตกต่างจาก 5 แบบข้างต้น และใช้วัสดุที่ทันสมัย ก่อให้เกิดรูปทรงแปลกตา แต่ต้องระวังเรื่องความร้อนและการรั่วซึม 


ขอบคุณข้อมูลจาก living-estate
  • รีโนเวททาวน์เฮ้าส์ 30 ปี เปลี่ยนบ้านเก่าเป็นบ้านเก๋ ฉบับมนุษย์เงินเดือน งบ 1.7 ล้านบาท
  • 14 วิธีจัดการกับคำถามเกี่ยวกับไรฝุ่น ที่ทำให้แม่บ้านทั้งหลายถึงบางอ้อกันเลยทีเดียว
  • 8 ข้อควรทำ ในการมองหาที่พักสำหรับคนรักสัตว์
  • วิธีกำจัดมดในสวน กำจัดมดในบ้านแบบธรรมชาติและปลอดภัย
  • วิธีการใช้เทคนิค ป้องกันน้ำท่วมสำหรับอาคารบ้านเรือน!!
  • 10 เรื่องที่ควรหลีกเลี่ยงกับการตกแต่งห้องครัว
  • 10 แบรนด์ ผ้าปูที่นอนกันไรฝุ่น พร้อมแนะวิธีการเลือกผ้าปูคุณภาพดี
  • 7 วิธีลดเชื้อโรคภายในบ้าน ป้องกัน COVID-19
  • เทคนิคเสกบ้านสะอาด ปลอดเชื้อแบบมือโปร
  • ระเบียบข้อบังคับจราจร การจอดรถในพื้นที่สาธารณะ ส่วนกลางหมู่บ้าน
  • เลือกอิฐแบบไหน อิฐมอญ อิฐมวลเบา อิฐบล็อก เหมาะกับสร้างบ้าน ประหยัดงบมากที่สุด
  • เช็คสิทธิ ทะเบียนราษฎร "เจ้าของบ้าน" กับ "เจ้าบ้าน" ในทะเบียนบ้าน ใครสิทธิเหนือกว่า หน้าที่ต่างกันอย...
  • เคล็ดไม่ลับ 10 วิธีซักผ้าสีตก คราบสีฝังแน่นอย่าทิ้ง ทำให้เสื้อกลับมาใส่ได้อีกครั้งดีกว่า
  • ข้อควรรู้ ซื้อบ้าน และที่ดินในโครงการจัดสรร เรื่องใดที่ควรทำหลังโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน
  • แอร์ยี่ห้อไหนประหยัดไฟ 2567 ลดการใช้พลังงาน ช่วยประหยัดไฟได้ดี
  • รูปทรงหลังคาประเภทต่างๆ เรื่องควรรู้ก่อนเริ่มสร้างบ้าน เลือกแบบไหนให้เหมาะสมกับตัวบ้าน

    หลังคา เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ต้องใส่ใจกับมันมากทีเดียวค่ะ หลังคาช่วยในการปกป้องเราและตัวบ้านของเราจากแดด ลม ฝน ซึ่งหลังคาดีก็มีชัยไปกว่าครึ่ง เพราะนอกจากหลังคาจะมีคุณประโยชน์ในด้านการใช้งานแล้ว การเลือกรูปแบบของหลังคาที่เหมาะสมกับตัวบ้าน ก็จะทำให้บ้านดูดีมาแต่ไกลเลยละค่ะ ซึ่งนั่นเป็นหน้าที่ของสถาปนิกที่จะช่วยคุณตัดสินใจเลือกรูปแบบของมัน แต่วันนี้เรามีพื้นฐานของประเภทหลังคาแบบต่างๆมาให้คุณผู้อ่าน เพื่อจะได้สื่อสารกับสถาปนิกและผู้รับเหมาได้ง่ายขึ้นว่าคุณต้องการอะไรค่ะ

    © สงวนลิขสิทธิ์ 2567 บริษัท ไทยโฮมทาวน์ จำกัด
    @thaihometown Scroll